วันพฤหัสบดี, พฤษภาคม 2, 2024
หน้าแรก เศรษฐกิจ

เศรษฐกิจ

สินเชื่อขยายตัวต่อใน ก.ค. แม้เจอล็อกดาวน์ (POSITIVE)

บล.กรุงศรีฯ: สินเชื่อธนาคารยังคงขยายตัวต่อในก.ค.แม้ว่าเศรษฐกิจจะชะลอตัวลงท่ามกลางมาตรการควบคุมของรัฐบาล โดย KBANK มีการเติบโตของสินเชื่อในเดือนที่ผ่านมา และ YTD แข็งแกร่งที่สุด หากมองต่อไปข้างหน้า คาดว่าจะเห็นอุปสงค์ของสินเชื่อสูงขึ้นจากภาคธุรกิจที่กลับมาดำเนินงานและแนวโน้มคุณภาพสินทรัพย์ที่ดีขึ้นหลังการเปิดประเทศ เราคงให้น้ำหนักหุ้นธนาคาร มากกว่าตลาด โดยมี KBANK เป็นหุ้นเด่น สินเชื่อธนาคารเติบโตแม้เศรษฐกิจจะชะลอตัว DSIBs (ไม่รวม BAY) รายงานสินเชื่อเติบโต 0.6% mom ในก.ค.และเติบโตในช่วง 7M21 3.5% ytd...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 09/08/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ - กระทรวงแรงงานสหรัฐรายงานว่า ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้น 943,000 ตำแหน่งในเดือนก.ค. สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ระดับ 845,000 ตำแหน่ง จากระดับ 938,000 ตำแหน่งในเดือนมิ.ย. ส่วนอัตราการว่างงานปรับตัวลงสู่ระดับ 5.4% ในเดือนก.ค. ต่ำกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ระดับ 5.7% หลังจากแตะระดับ 5.9% ในเดือนมิ.ย. กระทรวงแรงงานสหรัฐยังได้ปรับตัวเลขการจ้างงานในเดือนพ.ค. โดยปรับเป็นเพิ่มขึ้น 614,000...

บีโอไอหนุนผู้ประกอบการไทยรุกตลาดอาเซียน

บีโอไอจัดกิจกรรมเชิงรุกเสริมศักยภาพผู้ประกอบการไทยลุยลงทุนต่างแดน โดยเฉพาะตลาดเพื่อนบ้านในอาเซียน ระดมจัดสัมมนาต่อยอดความรู้จากประสบการณ์ตรงของนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ หวังสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมทุนไทยให้เติบโต สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ นายพัลลภ บุญศิริ ผู้อำนวยการกองพัฒนาผู้ประกอบการไทย บีโอไอ เปิดเผยว่า ในสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 กองพัฒนาผู้ประกอบการไทยได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศให้สอดคล้องกับยุค New Normal ตามพันธกิจสำคัญที่นอกเหนือจากการส่งเสริมการลงทุนในประเทศ บีโอไอยังได้สนับสนุนการลงทุนไทยต่างประเทศ เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยเติบโต และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ทั้งนี้ กองพัฒนาผู้ประกอบการไทย ได้เตรียมการจัดสัมมนาออนไลน์ที่น่าสนใจในหลากหลายประเด็นตลอดช่วงเดือนสิงหาคม 2564 เพื่อช่วยเตรียมความพร้อม และเสริมศักยภาพนักธุรกิจไทยไปลงทุนในต่างประเทศ โดยมีหัวข้อสัมมนาที่เปิดให้ผู้ประกอบการไทยได้เข้าร่วม...

EXIM BANK ชี้ภาคส่งออก พระเอกขับเคลื่อน ศก.ไทยครึ่งหลังปี 64

พร้อมช่วยผู้ส่งออกสู้โควิด-19 ตอบโจทย์วิถีใหม่ EXIM BANK ชี้เศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัวและเติบโตแบบกระจุกในประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ขณะที่ภาคส่งออกของไทยเป็นพระเอกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งหลังปี 2564 EXIM BANK จึงขานรับนโยบายกระทรวงการคลัง ทำหน้าที่ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย พัฒนา 4 ปัจจัยสู้วิกฤตโควิด-19 ควบคู่กับการตอบโจทย์โลกวิถีใหม่ ได้แก่ การพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ สร้างผู้ส่งออก SMEs รายใหม่ สร้าง Pavilion การค้าออนไลน์ และบริการครบวงจรเพื่อผู้ส่งออก โดยเฉพาะ...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 03/08/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ - ผลสำรวจซึ่งมาร์กิตจัดทำร่วมกับไฉซินระบุว่า ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคการผลิตเดือนก.ค.ของจีนลดลงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 15 เดือน เนื่องจากอุปสงค์ในภาคการผลิตปรับตัวลงเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 1 ปี เนื่องจากราคาสินค้าปรับตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ ดัชนี PMI ภาคการผลิตของจีนเดือนก.ค.ลดลงแตะระดับ 50.3 จากระดับ 51.3 ในเดือนมิ.ย. โดยดัชนี PMI เดือนก.ค.ต่ำกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ว่าจะอยู่ที่...

เวิลด์แบงก์ ชี้ไทยล็อกดาวน์เกิน Q3 ฉุด GDP เหลือแค่ 1.2%

ธนาคารโลก (World Bank) ปรับลดอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ของไทยในปี 64 ลงเหลือ 2.2% จากเดิมที่คาดการณ์ไว้เมื่อเดือน มี.ค.ที่ระดับ 3.4% เนื่องจากประเมินว่าเศรษฐกิจไทยในปีนี้ จะได้รับผลกระทบอย่างหนักต่อไปอีกจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 มองส่งออก- มาตรการด้านการคลัง จะช่วยประคับประคองเศรษฐกิจ จับตามาตรการล็อกดาวน์พื้นที่ 10 จังหวัด หากกินเวลานานเกินไตรมาส 3/64 จะฉุดเศรษฐกิจไทยปีนี้ เหลือโตแค่...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 15/07/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ - ธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 0.25% ในการประชุมวันพุธที่ผ่านมาซึ่งสอดคล้องกับการคาดการณ์ของตลาด อย่างไรก็ดี ธนาคารกลางนิวซีแลนด์ได้สร้างความประหลาดใจให้กับตลาดการเงิน ด้วยการประกาศว่าจะยุติโครงการซื้อสินทรัพย์ (LSAP) ตั้งแต่วันที่ 23 ก.ค.นี้เป็นต้นไป แต่ยังคงโครงการจัดหาเงินทุนเพื่อการปล่อยกู้ (FLP) เอาไว้เช่นเดิม นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่คาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ว่า ธนาคารกลางนิวซีแลนด์จะตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบายเอาไว้ที่ระดับ 0.25% ในการประชุมครั้งนี้ แต่นักวิเคราะห์ไม่ได้คาดว่าธนาคารกลางนิวซีแลนด์จะปรับเปลี่ยนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในการประชุมครั้งนี้ โดยเฉพาะโครงการ LSAP ซึ่งมีมูลค่า 1...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 09/07/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เปิดเผยว่า การที่รัฐบาลสหรัฐเดินหน้าใช้มาตรการด้านการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจนั้น อาจเพิ่มแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ พร้อมกับเตือนว่า ความเสี่ยงของการที่ราคาผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้น อาจผลักดันให้ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเร็วกว่าที่คาดไว้ นางคริสตาลินา จอร์เจียวา ผู้อำนวยการ IMF กล่าวผ่านบล็อกของ IMF ว่า อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นในสหรัฐจะส่งผลให้ประเทศทั่วโลกพากันใช้นโยบายคุมเข้มด้านการเงินในระดับที่รุนแรง และจะทำให้มีเม็ดเงินไหลออกจากกลุ่มตลาดเกิดใหม่และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในปริมาณที่สูงมากอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้ IMF ประเมินความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อของสหรัฐในช่วงเวลาที่ส.ส.พรรครีพับลิกันได้ออกมาวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับแผนมูลค่าหลายล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯของปธน.โจ...

ไทยฟื้นตัวโควิด‘ต่ำสุดอาเซียน’ อีก 5 ปี ท่องเที่ยวฟื้น

ประเทศไทยโด่งดังอีกครั้ง หลัง นสพ.นิคเคอิ ของญี่ปุ่น จัดทำดัชนีฟื้นตัวจากโควิด-19 ปรากฎว่าไทยอยู่เกือบท้ายตาราง จาก 120 ประเทศ ขณะที่ ธปท.กังวล การฟื้นตัวจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ยืดเยื้อ ส่งผลให้คาดว่า เศรษฐกิจไทยจะสามารถกลับมาขยายตัวได้ก่อนโควิด-19 ได้ คือช่วงไตรมาส 1/66 จากลักษณะโครงสร้างทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยว ที่คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 5 ปี หนังสือพิมพ์นิกเคอิจัดทำดัชนีฟื้นตัวจากโควิด-19 ไทยติดอันดับเกือบท้ายตาราง...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 08/07/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ - คณะกรรมการร่วม 3 สถาบัน (กกร.) ประกอบด้วย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย (ส.อ.ท.) และสมาคมธนาคารไทย ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 64 เป็นขยายตัวได้ในกรอบ 0.0 - 1.5% จากเดิม คาดว่าจะเติบโตได้ราว 0.5 - 2%...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 07/07/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ กระทรวงฝ่ายกิจการภายในประเทศและการสื่อสารของญี่ปุ่นเปิดเผยว่า การใช้จ่ายของภาคครัวเรือนญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น 11.6% ในเดือนพ.ค.เมื่อเทียบรายปี หลังจากขยายตัวอย่างแข็งแกร่งในเดือนเม.ย. โดยการใช้จ่ายภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลังจากที่ลดลงอย่างหนักในปีที่แล้ว จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การใช้จ่ายเฉลี่ยของภาคครัวเรือนที่มีสมาชิกอย่างน้อย 2 คนอยู่ที่ 281,063 เยน (2,500 ดอลลาร์ฯ) ซึ่งการเพิ่มรายปีครั้งนี้ถือเป็นการปรับตัวขึ้นมากที่สุดเป็นอันดับ 2 นับตั้งแต่ญี่ปุ่นได้เริ่มจัดเก็บข้อมูลในเดือนม.ค. 2544 รองจากในเดือนเม.ย.ที่ผ่านมาที่มีการขยายตัว 13% ทั้งนี้การใช้จ่ายภาคครัวเรือนของญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 3...

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจ-การเงิน 06/07/64

สำนักวิจัยซีไอเอ็มบี ไทย : สถานการณ์เศรษฐกิจที่สำคัญ นายวิชานัน นิวาตจินดา รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (CPI) เดือนมิ.ย.64 อยู่ที่ 99.93 เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อน 1.25% โดยเป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย 6 เดือนแรกของปีนี้ อยู่ที่ 0.89% (YoY) สำหรับดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน (Core...
- Advertisment -

Most Read

- Advertisment -
- Advertisement -
- Advertisement -